Page 36 -
P. 36

36                                                                                                                                                                                                                              37








                                                                     ต้องเขียนหัวข้อ “ลาเพื่อ



                                                                กิจธุระอันจ�าเป็น” ใหม่ โดย


                                                                รวบรวมเอาวันลากิจต่าง ๆ


                                                                ที่มีอยู่แล้วในหลากหลายชื่อ


          ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงกฎหมายใหม่นี้ ท�าให้          และจ่ายค่าจ้างอยู่แล้ว มาเขียน
          นายจ้างต้องปรับข้อบังคับเกี่ยวกับการท�างาน
          อย่างไรบ้างครับ                                       รวมอยู่ภายใต้หัวข้อ “วันลำ


                ต้องปรับปรุง แก้ไข เพิ่มเติมข้อบังคับเกี่ยวกับ  เพื่อกิจธุระอันจ�ำเป็น”
          การท�างานใหม่แน่นอนครับ อย่างน้อยต้องแก้ไขให้

          เป็นไปตาม พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 7) พ.ศ.
          2562 ในเรื่องที่ต้องมีในข้อบังคับฯ ดังนี้

                                                                เขียนเรื่องค่าชดเชยพิเศษกรณีมาตรา 120 ใหม่
                ในหมวดว่าด้วยวันลาและหลักเกณฑ์การลา
          ต้องเขียนหัวข้อ “ลาเพื่อกิจธุระอันจ�าเป็น” ใหม่  ค่าชดเชยพิเศษกรณีนายจ้างย้ายสถานประกอบกิจการ
                                                          แห่งหนึ่งแห่งใดไปตั้ง ณ สถานที่ใหม่ หรือย้ายไปยังสถานที่
                โดยรวบรวมเอาวันลากิจต่าง ๆ ที่มีอยู่แล้วใน  อื่นของนายจ้าง ต้องเขียนให้ชัดเจนถึงสิทธิและหน้าที่ของ

          หลากหลายชื่อและจ่ายค่าจ้างอยู่แล้ว เช่น วันลาเพื่อ  ลูกจ้างด้วย เพื่อให้พนักงานทราบวิธีปฏิบัติอย่างชัดเจน
          ไปจัดการศพ, วันลาเพื่อไปดูแลบุคคลในครอบครัว
          เกิดอุบัติเหตุ, วันลาไปรับปริญญา หรือวันลาเพื่อ       เรื่องการเกษียณอายุ เรื่องนี้ไม่ใช่ พ.ร.บ.คุ้มครอง

          กิจธุระอันจ�าเป็นอื่น ๆ เช่น ไฟไหม้บ้าน บ้านถูกพายุ   แรงงาน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 แต่เป็นเรื่อง พ.ร.บ.คุ้มครอง
          ฯลฯ มาเขียนรวมอยู่ภายใต้หัวข้อ “วันลาเพื่อกิจธุระ  แรงงาน (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2560 ใช้บังคับเมื่อวันที่ 1 กันยายน
          อันจ�าเป็น”                                     2560 เฉพาะองค์กรที่ไม่มีข้อก�าหนดเรื่องเกษียณอายุ หรือมี
                                                          ข้อก�าหนดหรือมีข้อตกลงให้เกษียณอายุเมื่อลูกจ้างมีอายุเกิน
                เขียนเรื่องวันลาเพื่อคลอดบุตรใหม่ ให้รวมถึง   60 ปี  เช่น องค์กรที่ก�าหนดเกษียณอายุ เมื่อลูกจ้างมีอายุครบ
          วันลาเพื่อตรวจครรภ์ก่อนคลอดบุตร และเปลี่ยน      60 ปีบริบูรณ์ แต่ให้มีสภาพเป็นลูกจ้างจนถึงวันสิ้นปีปฏิทิน

          จ�านวนวันลาเป็น 98 วัน                          (31 ธันวาคม)

                หมวดการเลิกจ้าง ค่าชดเชย และค่าชดเชย            กรณีเช่นนี้ นายจ้างควรปรับปรุงเขียนข้อบังคับฯ ให้
          ปรับปรุง เพิ่มเติมเรื่องค่าชดเชยเขียนเพิ่ม 2 ระดับ   ลูกจ้างรู้สิทธิของตนว่า “......พนักงานที่มีอายุครบหกสิบปี

          สูงสุด 400 วัน                                  ขึ้นไป มีสิทธิแสดงเจตนาเกษียณอายุก่อนที่ข้อบังคับเกี่ยวกับ

                                                          การท�างานก�าหนดไว้ได้ โดยแจ้งให้บริษัททราบและให้มีผล
                                                          สิ้นสุดสัญญาจ้างหลังจากวันแจ้งให้บริษัททราบ 30 วัน โดย
                                                          การสิ้นสุดสัญญาจ้างเนื่องจากการเกษียณอายุนี้ บริษัทจะ

                                                          จ่ายค่าชดเชยให้ลูกจ้างที่เกษียณอายุตามกฎหมาย.....”
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41