Page 34 -
P. 34
34 35
เรื่อง การย้ายสถานประกอบกิจการ มาตรา 120 กฎหมายใหม่ ตามกฎหมายใหม่ เรื่องนี้มีการเปลี่ยนแปลงจาก
เห็นนายจ้างกังวลกันมาก โดยเฉพาะธุรกิจที่นายจ้างมีสาขา แนวค�าพิพากษาศาลฎีกาที่เคยวินิจฉัยตามกฎหมาย
เก่าอย่างสิ้นเชิง เดิม มีค�าพิพากษาศาลฎีกาว่า
ผมมองว่า พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 นี้
เรื่องนี้ส�าคัญที่สุดและกระทบกระเทือนการบริหารงานบุคลากรของ ถ้าเดิมนายจ้างมีส�านักงานใหญ่และมีสาขาอยู่
นายจ้างมากที่สุด พร้อมกัน รวม 2 แห่ง หากมีความจ�าเป็นต้องปิดแห่งหนึ่ง
แล้วย้ายพนักงานไปท�างานยังสถานที่ท�างานอีก
ตาม พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 มาตรา แห่งหนึ่งที่มีอยู่เดิม เช่น มีส�านักงานกรุงเทพฯ แห่งหนึ่ง
120 ก�าหนดไว้ว่า “นายจ้างซึ่งประสงค์จะย้ายสถานประกอบกิจการ และมีส�านักงานสาขาอีกแห่งที่ภูเก็ต หากต่อมา
แห่งหนึ่งแห่งใดไปตั้ง ณ สถานที่ใหม่......หากลูกจ้างคนใดเห็นว่า นายจ้างปิดสถานที่ท�างานที่กรุงเทพฯ ย้ายลูกจ้างที่
การย้ายสถานประกอบกิจการดังกล่าวมีผลกระทบส�าคัญต่อการ กรุงเทพฯ ไปท�างานที่ภูเก็ต ไม่ถือว่าเป็นการย้ายที่ตั้ง
ด�ารงชีวิตตามปกติของลูกจ้างหรือครอบครัวของลูกจ้างคนนั้น สถานประกอบกิจการตามกฎหมายเดิม แต่เรื่องนี้หาก
และพนักงานไม่ประสงค์จะไปท�างาน ณ สถานประกอบ เกิดขึ้นในช่วงที่ พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 7) พ.ศ.
กิจการแห่งใหม่ ต้องแจ้งให้นายจ้างทราบเป็นหนังสือภายในสามสิบ 2562 ใช้บังคับแล้ว ถือว่าเข้ามาตรา 120 ใหม่แล้ว
วันนับแต่วันปิดประกาศ หรือนับแต่วันที่ย้ายสถานประกอบกิจการ
ในกรณีที่นายจ้างมิได้ปิดประกาศและให้ถือว่าสัญญาจ้างสิ้นสุดลง
ในวันที่นายจ้างย้ายสถานประกอบกิจการ โดยลูกจ้างมีสิทธิได้รับ
ค่าชดเชยพิเศษไม่น้อยกว่าอัตราค่าชดเชยที่ลูกจ้างพึงมีสิทธิกรณี
เลิกจ้าง”