Page 31 -
P. 31

30                                                                                                            31









                                                                                           Focus Interview


                   อาจารย์อรรถพล มนัสไพบูลย์







                              ที่ปรึกษากฎหมายแรงงาน วิทยากร และทนายความด้านคดีแรงงาน

                                                   ส�านักงานกฎหมาย บริษัท กรุงเทพนิติการ จ�ากัด


                              นิติศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยรามค�าแหง รุ่นที่ 3 และเนติบัณฑิตไทย






                ทุกครั้งที่มีกำรเปลี่ยนแปลงเรื่องกฎหมำยหรือ

           พ.ร.บ. ต่ำง ๆ ก็มักจะมีสำยเข้ำมำถำมรำยละเอียดอยู่เป็น         กฎหมายคุ้มครองแรงงานฉบับนี้มีข่าวมานาน
           ประจ�ำ ไม่ว่ำจะเรื่องที่ีท�ำอยู่ขัดต่อหลักกฎหมำยหรือไม่ ต้อง  แล้วตั้งแต่ร่างผ่านมติคณะรัฐมนตรี  เมื่อวันที่
           ปรับปรุงข้อบังคับอย่ำงไรให้เข้ำกับพ.ร.บ. ที่อัปเดตขึ้นมำ   15 สิงหาคม 2560 เป็นข่าวครึกโครมกันทั้งเมือง

                ซึ่งในช่วงนี้ พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงำนฯ ได้มีกำรปรับ มีผู้ที่อยู่ในแวดวงลูกจ้างนายจ้างสอบถามปัญหามา

           สิทธิประโยชน์ของลูกจ้ำงอีกครั้ง ทำงทีมงำนจึงไม่รอช้ำ มากมาย ช่วงนั้นสถาบันฝึกอบรม ชมรมบริหารงาน
           รีบไปขอควำมรู้และแนวทำงในกำรท�ำงำนส�ำหรับคน HR  บุคคล จัดสัมมนาถึงร่างกฎหมายที่ผ่านครม. กันมาก

           กับวิทยำกรที่มำกประสบกำรณ์  “อาจารย์อรรถพล   HR Center ก็จัดเป็นหลักสูตรพิเศษครึ่งวันอยู่ 3 รุ่น
           มนัสไพบูลย์” มำดูว่ำเรื่องอะไรที่เรำมักเข้ำใจผิด เรื่องอะไร รุ่นละประมาณ 150 คน มีผมเป็นผู้บรรยายเอง

           ที่เรำต้องระวัง และมุมอะไรบ้ำงที่อำจำรย์อยำกจะแชร์กับ         แต่ร่างดังกล่าวมีอะไรที่ไม่ชัดเจนและมีปัญหา
           พวกเรำครับ
                                                                   การตีความอยู่หลายประเด็น จึงต้องมีการทบทวน
                                                                   ร่างกฎหมายคุ้มครองฉบับดังกล่าวใหม่ หายไปนาน
                                                                   ครับ ปลายปี 2560 ต่อเนื่องปี 2561 ก็ยังเงียบอยู่ มี
           มีคนให้ความสนใจเรื่อง พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 7)
           พ.ศ. 2562 มีประเด็นอะไรที่เปลี่ยนแปลงแล้วน่าสนใจบ้างครับ  ลูกจ้างที่อายุงานเกิน 20 ปี ใกล้เกษียณอายุที่จะได้
                                                                   ค่าชดเชยเพิ่มจาก 300 วัน เป็น 400 วัน สอบถาม

                สวัสดีครับ ขอบคุณ HR Corner มากที่ให้เกียรติมา มาเยอะว่า “อาจารย์ครับ กฎหมายฉบับใหม่จะ
           สัมภาษณ์ผมอีกครั้งเกี่ยวกับ พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 7)  ประกาศใช้ทันปีนี้ไหม” ผมจุดธูปภาวนาวันละ 9 ดอก
           พ.ศ. 2562 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 5 เมษายน  เพราะผมจะเกษียณสิ้นปี  กฎหมายฉบับนี้ก็เงียบอยู่....

           2562 มีผลใช้บังคับเมื่อพ้นก�าหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศ บัดนี้ประกาศมีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม
           ในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป คือมีผลใช้บังคับแล้วตั้งแต่วันที่  2562 แล้วครับ ซึ่งมีความชัดเจนมากขึ้น อ่านเองก็พอ

           5 พฤษภาคม 2562 เป็นต้นมาครับ กฎหมายฉบับนี้รอมานาน เข้าใจครับ
           นะครับ
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36