Page 33 -
P. 33

32                                                                                                            33



        ประเด็นที่อาจารย์เห็นว่ามีปัญหาเรื่องวันลาเพื่อกิจธุระอันจ�าเป็น   บริษัท A - ข้อบังคับฯ เขียนว่าบริษัทให้ลูกจ้าง
        มีปัญหาอย่างไรครับ                                         ลากิจไปจัดการศพ ในกรณีที่บิดา มารดา คู่สมรส หรือ
                                                                   บุตรของพนักงานเสียชีวิต ครั้งละ 5 วัน โดยได้รับค่าจ้าง
              เรื่องวันลาเพื่อกิจธุระอันจ�าเป็นมีนายจ้างสับสนกันมาก

        การที่มีการสัมมนากันหลากหลาย ทั้งสถาบันฝึกอบรม ทาง         หรือลาเพื่อกิจธุระอื่นที่ลูกจ้างมีความจ�าเป็นที่ต้องไปท�า
        มหาวิทยาลัย หรือชมรมต่าง ๆ จัดเสียเงินบ้าง เข้าฟรีบ้าง วิทยากร  ด้วยตัวเอง ซึ่งไม่สามารถมอบหมายให้คนอื่นไปท�าแทน
        หลากหลายกันไป บางครั้งมีความเห็นไม่เหมือนกัน เช่น มีลูกค้า   และไม่สามารถจะท�าในวันหยุดงานได้ ได้ค่าจ้าง  เขียนไว้

        บางรายสอบถามผมมาว่า “ที่บริษัทเดิมให้ลูกจ้างมีสิทธิลากิจ   ในข้อบังคับเกี่ยวกับการท�างานในหมวดวันลาและ
        เนื่องจากบิดา มารดา คู่สมรส หรือบุตรเสียชีวิต ลาไปจัดการศพ  หลักเกณฑ์การลา
        ได้ครั้งละ 5 วัน โดยได้รับค่าจ้างอยู่แล้ว                        กรณีนี้แม้มี พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 7)

                                                                   พ.ศ. 2562 ออกมา บริษัท A ก็ไม่ต้องให้วันลาเพื่อ
              นอกจากนี้ มีวันลาเพื่อสมรสของตัวพนักงานเอง 5 วัน
        ลาไปรับปริญญา 1 วัน ได้รับค่าจ้าง แบบนี้ต้องเพิ่มวันลาเพื่อ   กิจธุระอันจ�าเป็นเพิ่มขึ้นอีก 3 วัน โดยจ่ายค่าจ้าง

        กิจธุระอันจ�าเป็นโดยจ่ายค่าจ้างตามกฎหมายใหม่อีก 3 วันด้วย  แต่อย่างบริษัท A ควรปรับปรุงข้อบังคับเกี่ยวกับการ
        หรือไม่ ซึ่งบางวิทยากรก็บอกว่าต้องเพิ่ม บางวิทยากรก็บอก    ท�างาน ก�าหนดหัวข้อวันลาเพื่อกิจธุระอันจ�าเป็นขึ้นมา
        ไม่ต้องเพิ่ม ท�าให้สับสนมาก” ผมก็เห็นใจและเข้าใจคนที่เจอปัญหา  แล้วรวบรวมเอาวันลากิจต่าง ๆ ที่มีอยู่แล้วข้างต้นไป

        แบบนี้นะครับ                                               เขียนรวมไว้ภายใต้หัวข้อ “วันลาเพื่อกิจธุระอันจ�าเป็น”







                    ถ้ำข้อเท็จจริงต่างกัน ส่งผลถึง

            ค�าตอบต่างกัน มีผลแพ้ชนะคดี






            กันเลยทีเดียว








              มุมมองของผม ผมเห็นว่าวิทยากรหรือผู้ตอบปัญหาเรื่อง          บริษัท B - ข้อบังคับเกี่ยวกับการท�างานก�าหนด

        กฎหมาย รวมทั้งกฎหมายแรงงาน ต้องตั้งใจฟังปัญหาของคนถาม  ให้ลูกจ้างรายเดือนลาเพื่อกิจธุระอันจ�าเป็นได้ปีละ
        ให้ดี ต้องซักข้อเท็จจริง ข้อมูล รายละเอียดของเจ้าของปัญหา  ไม่เกิน 5  วัน โดยได้รับค่าจ้าง ส่วนลูกจ้างรายวันลากิจ
        ให้หมดว่า ที่องค์กรของเขา เอกสารของเขา ข้อบังคับเกี่ยวกับการ  ได้ปีละไม่เกิน 3 วัน โดยไม่ได้รับค่าจ้าง

        ท�างานของเขาเขียนอย่างไร ในฐานะที่ผมเป็นทนายความว่าความ          กรณีบริษัท B นี้ต้องแก้ไขใหม่ครับ ลูกจ้างรายวัน
        คดีแรงงานด้วย อยากจะบอกว่า ถ้าข้อเท็จจริงต่างกัน ส่งผลถึง   ลากิจปีละไม่เกิน 3 วันนั้น ต้องเปลี่ยนเป็นให้ค่าจ้าง 3
        ค�าตอบต่างกัน มีผลแพ้ชนะคดีกันเลยทีเดียว ผมขอยกตัวอย่าง    วัน ครับ

        เปรียบเทียบข้อบังคับเกี่ยวกับการท�างานของ 2 บริษัท เรื่องวันลา
        เพื่อกิจธุระอันจ�าเป็นดังนี้
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38