Page 41 -
P. 41
40 41
ถามว่าถ้าเรื่องท�านองนี้เกิดขึ้นกับองค์กรอื่น
แล้วไม่อยากให้องค์กรต้องจ่ายทั้งค่าบอกกล่าว
ล่วงหน้าและค่าชดเชยอีกด้วยนั้น มีแนวทางอะไรได้
บ้าง มีข้อแนะน�าอย่างนี้ครับ
ในเมื่อพนักงานยื่นขอลาออกล่วงหน้ามา 6 เดือน
บริษัทก็ต้องถือว่าวันลาออกเป็นไปตามนั้น เพราะการ
จะลาออกในวันใดเป็นสิทธิของลูกจ้าง ส่วนการจะ
สอบสวนพนักงานในกรณีที่สงสัยว่ากระท�าความผิด
ก็ด�าเนินการสอบสวนกันต่อไป จะใช้เวลาสอบสวน
ผลสรุปศาลแรงงานกลางพิจารณาว่าเรื่องนี้เป็นกรณีที่ นานแค่ไหนกัน อย่างเก่งคงประมาณเดือนหนึ่งก็น่าจะ
นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างโดยยังไม่ได้ฟังว่าลูกจ้างกระท�าความผิด รู้เรื่องแล้ว ถ้าผลการสอบสวนออกมาว่าลูกจ้างได้
จึงสั่งให้นายจ้างจ่ายค่าบอกกล่าวล่วงหน้า 6 เดือน และค่าชดเชย กระท�าผิดร้ายแรงจริง ถึงตอนนั้นจะเลิกจ้างก็ปลอดภัย
ตามอายุงาน 3 เดือน พร้อมดอกเบี้ยอีกด้วย
ค่าชดเชยก็ไม่ต้องจ่าย เงินเดือนก็จ่ายแค่ถึงวันที่
เมื่อนายจ้างยื่นอุทธรณ์ไปที่ศาลฎีกา ศาลฎีกาก็ยืนตาม เลิกจ้างเท่านั้น เพียงแต่ต้องสอบให้แน่ใจว่าเป็น
ศาลแรงงานกลาง การกระท�าความผิดร้ายแรงจริงเท่านั้น
เรื่องนี้เลยต้องจ่ายทั้งค่าบอกกล่าวล่วงหน้าถึง 6 เดือน ยิ่งกว่านั้น ถ้าเรื่องที่สอบสวนมีมูลว่าลูกจ้าง
แถมด้วยค่าชดเชยตามอายุงานอีก 3 เดือน พร้อมดอกเบี้ย ได้กระท�าความผิดร้ายแรงจริง ดีไม่ดี ตัวลูกจ้างเอง
จึงกลายเป็นเงินก้อนโตอย่างที่เล่ามา นั่นแหละอาจเป็นฝ่ายมาขอเปลี่ยนแปลงวันลาออก
ให้เร็วขึ้นโดยไม่อยากรอให้ผลสอบสวนออกมาด้วยซ�้า
และถ้าลูกจ้างเป็นฝ่ายมาขอเปลี่ยนวันลาออกให้
เร็วขึ้นจริง ก็สามารถเปลี่ยนวันลาออกให้เร็วขึ้นได้
เพราะเป็นความประสงค์ของลูกจ้างครับ
ในอีกทางหนึ่ง ถ้าผลสอบสวนออกมาว่าลูกจ้าง
ไม่ได้กระท�าความผิด ยิ่งชัดเจนว่าไม่สามารถเลิกจ้าง
ถ้าลูกจ้างเป็นฝ่ายมาขอ ลูกจ้างได้ ก็เพียงแต่ปล่อยให้ลูกจ้างได้ท�างานไปจนถึง
เปลี่ยนวันลาออกให้เร็วขึ้นจริง วันลาออกที่ลูกจ้างยื่นมา อย่างนี้ก็ปลอดภัยไร้ปัญหา
ต่อองค์กร
ก็สามารถเปลี่ยนวันลาออก
ให้เร็วขึ้นได้เพราะเป็นความ
ประสงค์ของลูกจ้าง