Page 42 -
P. 42
42 43
ค่ารถยนต์
ถือเป็นค่าจ้าง
หรือไม่?
ตามฎีกาที่ยกมานี้ ยังมีประเด็นที่น่าสนใจอีกเรื่องหนึ่งคือ ฐาน
ในการค�านวณเงินค่าบอกกล่าวล่วงหน้า 6 เดือน และค่าชดเชยอีก
3 เดือนนั้น ศาลแรงงานกลางได้ใช้ตัวเงินเดือน 3 แสนบาทเพียง นอกจากนี้ยังได้ก�าหนดเกี่ยวกับเรื่องที่พัก
อย่างเดียวเป็นฐานในการคิดค�านวณ แต่ลูกจ้างไม่เห็นด้วย เพราะ ไว้ด้วยว่าโจทก์มีสิทธิได้รับช�าระเงินคืนส�าหรับ
เห็นว่าค่ารถยนต์อีกเดือนละ 5 หมื่นบาท ที่ได้รับอยู่ประจ�าทุกเดือน ค่าเช่าบ้านเป็นจ�านวนสูงสุด 60,000 บาทต่อเดือน
ควรน�ามาเป็นฐานค่าจ้างในการคิดค�านวณด้วย จึงอุทธรณ์ไปที่ โดยไม่สามารถสะสมได้ การตกลงกันในลักษณะ
ศาลฎีกา เช่นนั้น เห็นได้ชัดว่าเป็นการจัดสวัสดิการให้โจทก์
ได้รับความสะดวกเกี่ยวกับพาหนะที่จะต้องใช้ในการ
ที่เห็นว่าเรื่องนี้เป็นประเด็นที่น่าสนใจก็เพราะว่ายังมีความคิด
ความเข้าใจกันส่วนหนึ่งว่า อะไรที่จ่ายเป็นการประจ�า เป็นจ�านวนที่ เดินทางไปท�างาน รวมทั้งสวัสดิการที่พักอาศัยตาม
แน่นอน ไม่ว่าจะใช้กันจริงเท่าไร เงินนั้นก็น่าจะเป็นค่าจ้าง ต�าแหน่งหน้าที่ที่ส�าคัญของโจทก์
ดังนั้นค่ารถยนต์ที่จ�าเลยตกลงจ่ายให้เดือนละ
แต่กรณีนี้ศาลฎีกาไม่ได้ถือว่าเป็นค่าจ้าง
50,000 บาท จึงมิใช่ค่าตอบแทนในการท�างานที่จะ
มาดูเหตุผลที่วินิจฉัยกันหน่อยนะครับว่า ศาลฎีกาเห็นและ ถือเป็นค่าจ้างตามความหมายในมาตรา 5 แห่ง
พิพากษาประเด็นนี้ไว้ว่าอย่างไร ขอยกข้อความในฎีกาในตอนนี้ พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ที่
มาเลยนะครับ ศาลแรงงานกลางพิพากษามานั้นชอบแล้ว อุทธรณ์
“เห็นว่าตามสัญญาจ้างเอกสารหมาย จ 5 ข้อที่ 11 ได้ระบุแยก ของโจทก์ฟังไม่ขึ้น พิพากษายืน”
ค่าตอบแทนไว้อย่างชัดเจนว่า เป็นเงินเดือนพื้นฐานเดือนละ 300,000 ประเด็นว่าค่ารถยนต์ในกรณีนี้ไม่เป็นค่าจ้าง
บาท ส่วนค่ารถยนต์ที่เป็นปัญหาโต้เถียงกันได้ก�าหนดไว้ว่าเป็น เพราะเหตุใดนั้น ผมไม่ขออธิบายสรุปอะไรอีก เพราะ
ค่าเบี้ยเลี้ยงส�าหรับค่ารถยนต์และคนขับรถเดือนละ 50,000 บาท ศาลฎีกาท่านพิพากษาไว้ชัดเจนอยู่แล้ว ก็ตามนั้นครับ
โดยแยกไว้ต่างหากและให้รวมทั้งภาษีจากการใช้รถยนต์บนท้องถนน
ค่าน�้ามัน ค่าประกันภัย ค่าซ่อมแซม และค่าบ�ารุงรักษากับค่าใช้จ่าย
เกี่ยวเนื่องอย่างอื่นด้วย