Page 18 -
P. 18

18                                                                                                                                                                                                                              19






          หลังประกาศการเปลี่ยนแปลงไปแล้ว ตอนนี้พบเรื่อง/

          กรณีอะไรที่น่าสนใจบ้างไหมครับ

                ส่วนใหญ่จะเป็นค�าถามที่เข้ามามากกว่าเรื่องความ

          ไม่แน่ใจในแนวทางปฏิบัติของตัวเองว่าถูกต้องกับ                    นายจ้างและลูกจ้าง
          พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงานฯ ที่ประกาศมาหรือไม่ เช่น แต่เดิม
          ลูกจ้างหญิงมีครรภ์ลาเพื่อคลอดบุตรได้ 90 วัน กฎหมายใหม่  ทั้งสองฝ่ายต้องทราบว่า

          ลาเพื่อคลอดบุตรได้เพิ่มเป็น 98  วัน ปัญหาคือลูกจ้างลาคลอด
          ในช่วงกฎหมายเดิม แต่การคลอดยังไม่จบแล้วมีกฎหมายใหม่     สิทธิและหน้าที่ของตัวเอง
          ประกาศใช้ แล้วจะต้องใช้กฎหมายฉบับใดบังคับ นายจ้างต้อง

          ให้สิทธิลูกจ้างหญิงมีครรภ์ลาเพิ่มอีก 8 วันหรือไม่ หากลูกจ้าง  มีอะไรบ้าง  โดยเฉพาะ
          ใช้สิทธิลาคลอดในช่วงกฎหมายฉบับเดิมเรียบร้อยแล้วก็จะ
          ไม่มีปัญหา                                              อย่างยิ่งฝ่ายจัดการ เช่น


          แล้วในมุมมองของอาจารย์มองเรื่องนี้ว่าอย่างไรบ้างครับ    ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์


                ส�าหรับผมมองว่าในเมื่อการลาเพื่อคลอดบุตรยังไม่จบ
          เมื่อมีการประกาศใช้กฎหมายคุ้มครองแรงงานฉบับใหม่
          นายจ้างก็สมควรที่จะให้สิทธิลูกจ้างหญิงมีครรภ์เพิ่มวันลา

          เพื่อคลอดบุตรอีก 8 วัน เพราะการลาคลอดครั้งนั้นยังไม่จบสิ้น

          หลังประกาศการเปลี่ยนแปลงพ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน           อนาคตคาดว่าจะมีการเพิ่มเติม/เปลี่ยนแปลง

          ฉบับที่ 7 มีผลตอบรับจากกลุ่มนายจ้างอย่างไรบ้างครับ
                                                                 อะไรอีกบ้างครับ
                สิ่งที่กระทบส�าหรับนายจ้างเป็นเรื่องค่าชดเชยที่เพิ่มจาก  การเปลี่ยนแปลงคงจะอีกระยะหนึ่งเพราะ
          ค่าจ้างสุดท้ายไม่น้อยกว่า 300 วัน เป็น 400 วัน ซึ่งเป็นการเพิ่ม  กฎหมายไม่ได้แก้ไขบ่อย ๆ ต้องรอให้มีความจ�าเป็น

          ต้นทุน ต้องมีการวางจัดสรรงบประมาณในส่วนนี้ใหม่ บริษัท  ก่อน
          เล็ก ๆ อาจจะไม่กระทบในส่วนนี้เท่าไร แต่โรงงานที่มีลูกจ้างที่จะ
          เกษียณอายุจ�านวนมากเป็นร้อย ๆ คนต่อปี งบประมาณใน เทียบกับในนานาประเทศถือว่ากฎหมายของเรา

          ส่วนนี้จะเพิ่มขึ้นมาก ในมุมของนายจ้างอาจจะมองเรื่องต้นทุน ทันสมัยหรือยังครับ
          ที่เพิ่มขึ้น แต่มุมของลูกจ้างจะมองว่าเหมาะสมแล้วเพราะเขา    ส�าหรับกฎหมายในการดูแลลูกจ้างของ

          ท�างานมานานควรได้รับค่าชดเชยเพิ่ม
                                                                 ประเทศไทยมีมาตรฐานระดับหนึ่ง เช่น ในมาตรา 53
                                                                 เรื่องการจ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลาในการท�างานใน
                                                                 วันหยุดของชาย-หญิงที่เท่าเทียมกัน แต่เดิมเขียนไว้ว่า

                                                                 ส�าหรับงานที่เหมือนกัน (Same work) แต่กฎหมาย
                                                                 ใหม่ขยายไปถึงว่างานที่มีคุณค่าเท่าเทียมกัน (Same

                                                                 work of equal value) ซึ่งการปรับในครั้งนี้เป็นไปตาม
                                                                 มาตรฐานแรงงานสากลขององค์การแรงงานระหว่าง
                                                                 ประเทศ (ILO)
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23