Page 17 -
P. 17

16                                                                                                            17
















                                                             แล้วกรณีที่ว่าย้ายสถานประกอบการแล้วลูกจ้าง

                                                             เดือดร้อน ค�าว่า “เดือดร้อน” นั้น พิจารณาจากอะไร
                                                             ครับ


                                                                  กฎหมายจะใช้ค�าว่า “ลูกจ้างหรือครอบครัวได้รับ
                                                             ผลกระทบต่อการด�าเนินชีวิตอย่างส�าคัญ” เรื่องนี้มาจากแนว
                                                             ความคิดเรื่องสมดุลระหว่างการท�างานและการใช้ชีวิต หรือ

                                                             ที่เราเรียกว่า Work Life Balance ซึ่งสมดุลที่ว่าไม่ได้มองที่
                                                             การท�างานเพียงอย่างเดียว แต่ต้องดูที่การใช้ชีวิตของลูกจ้าง

                                                             ด้วย ตัวอย่างเช่น ลูกจ้างอยู่ใกล้นิคมอุตสาหกรรมนวนคร มี
                                                             ครอบครัว มีทั้งลูก พ่อแม่ป่วยติดเตียงที่ต้องดูแล บ้านก็อยู่
                                                             บริเวณนั้น รวมถึงเป็นคนในพื้นที่นั้นด้วย หากมีการย้ายสถาน

                                                             ประกอบการจากนวนครไปนิคมอุตสาหกรรม 304 ที่จังหวัด
                                                             ปราจีนบุรี แบบนี้ท�าให้เขาเดือดร้อน ใครจะดูแลพ่อแม่ซึ่งป่วย
                                                             ติดเตียง สมมติว่าเป็นคนงานระดับปฏิบัติการที่ได้รับรายได้

                                                             เป็นรายวัน ลูกจ้างอาจไม่มีเงินเหลือพอส�าหรับใช้เดินทาง
                                                             กลับมาเยี่ยมครอบครัว


                                                                  กฎหมายไม่ได้ดูที่ลูกจ้างเดือดร้อนเพียงอย่างเดียว แต่
        มีกฎหมายเรื่องการย้ายสถานประกอบการเพิ่มเติม          ดูไปถึงครอบครัวของลูกจ้างด้วย เรื่องนี้ค่อนข้างบอกยากว่า

        มา กลุ่มงานที่ต้องย้ายสาขาบ่อย ๆ เช่น ธนาคาร         แค่ไหนถึงจะเรียกว่าเดือดร้อนอย่างส�าคัญ คงต้องพิจารณา
        จะกระทบเรื่องนี้ไหมครับ                              เป็นกรณีไป การย้ายสถานประกอบกิจการไปใกล้ ๆ ลูกจ้าง


              ไม่ครับ ต้องเข้าใจว่ามาตรา 120 พ.ร.บ.คุ้มครอง  อาจจะไม่ได้เดือดร้อน แต่หากย้ายเป็นระยะทาง 500 กิโลเมตร
        แรงงาน พ.ศ. 2541 เป็นการออกค่าชดเชยพิเศษ             แบบนี้ลูกจ้างอาจเดือดร้อนอย่างส�าคัญ หรือการย้ายมีผล
        เนื่องจากการย้ายสถานประกอบกิจการ ซึ่งค�าว่า          ท�าให้ลูกจ้างมีค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นจากการเดินทางวันละ 50

        สถานประกอบกิจการ หมายถึง สถานที่ที่ใช้ส�าหรับ        บาท แต่รายได้ลูกจ้างแค่วันละ 325 บาท ลูกจ้างต้องขาด
        ผลิต จ�าหน่าย หรือให้บริการต่าง ๆ ไม่รวมถึงการย้าย   รายได้เป็นจ�านวนมาก เช่นนี้ ก็ถือว่าลูกจ้างได้รับผลกระทบ
        ลูกจ้างหรือการย้ายแรงงาน เช่น หากมีโรงงานอยู่ที่     อย่างส�าคัญ

        เขตอุตสาหกรรมนวนคร เมื่อพบเหตุน�้าท่วมจึงย้ายไป           อีกมุมหนึ่งในกรณีเดียวกันหากลูกจ้างเป็นผู้บริหารซึ่ง
        เปิดใหม่ที่นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จ.ชลบุรี แบบนี้     มีทั้งคนขับรถ รถประจ�าต�าแหน่ง ค่าน�้ามันรถรายเดือน ลูกจ้าง
        ถือว่าย้ายโรงงานหรือสถานประกอบการ แต่กรณีที่ย้าย     อาจไม่ได้รับผลกระทบอย่างส�าคัญก็เป็นได้ เพราะบริษัทได้

        พนักงานจากสาขาเชียงของไปยังสาขาอุดรธานี เรื่องนี้    รองรับค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ไว้แล้ว ฉะนั้นจึงต้องพิจารณา
        เป็นการย้ายคน จึงน�ากฎหมายเรื่องนี้มาใช้ไม่ได้
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22