Page 12 -
P. 12

12                                                                                                                                                                                                                              13












              Focus Interview


               อาจารย์พงษ์รัตน์ เครือกลิ่น




               รองประธำนศำลอุทธรณ์คดีช�ำนัญพิเศษ (แรงงำน)







                    “ คนจ�านวนมากไม่รู้เรื่องกฎหมายแต่ใช้


              ความรู้สึกส่วนบุคคลแก้ปัญหาข้อขัดแย้ง โดยไม่ใช้ตัวบท


              กฎหมายหรือแนวค�าพิพากษาศาลฎีกามาสนับสนุน”








                    ช่วงที่ผ่านมาหากถามว่ามีเรื่องอะไรที่
              เปลี่ยนแปลงในวงการ  HR  ที่เด่น  ๆ  เลยบ้าง    อาจารย์ครับส�าหรับ พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน
              ค�าตอบคงหนีไม่พ้นเรื่องการเพิ่มสิทธิประโยชน์

              ของพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน ฉบับที่ 7      ฉบับที่ 7 ที่เพิ่งประกาศใช้ไปนั้น มีประเด็นอะไรที่
              จนมีสายโทรศัพท์เข้ามาหาทีมงานเรื่องรายละเอียด   เปลี่ยนแปลงแล้วน่าสนใจบ้างครับ

              กันมากมาย ซึ่งเป็นสัญญาณที่ดีนะครับที่ตื่นตัว      ส�าหรับฉบับนี้มีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขอยู่
              เรื่องการเปลี่ยนแปลงกันขนาดนี้                หลายประเด็นครับ เช่น เรื่องการเปลี่ยนตัวนายจ้าง
                                                            มาตรา 13 พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 หรือ
                    ปัญหาโดยส่วนใหญ่จะเป็นความกังวล

              เรื่องการตีความตัวบทกฎหมายจนท�าให้เข้าใจ      ในเรื่องของการลากิจธุระส่วนตัวอันจ�าเป็น ลาเพื่อ
              คลาดเคลื่อน ทางทีมงานจึงขอต่อสายตรงไป         คลอดบุตร และค่าชดเชยพิเศษเนื่องจากการย้าย
              พูดคุยกับ  “อาจารย์พงษ์รัตน์  เครือกลิ่น”     สถานประกอบการ เรื่องเหล่านี้ลูกจ้างจะให้ความ

              รองประธานศาลอุทธรณ์คดีช�านัญพิเศษ             สนใจกันมาก เนื่องจากมีผลต่อการท�างานโดยตรง
              ด้านแรงงาน  เพื่อขอค�าอธิบายจากมุมของ         เช่น เรื่องค่าชดเชยจากเดิมที่จ่ายสูงสุดไม่น้อยกว่า

              นักกฎหมายด้านแรงงานโดยเฉพาะกันครับ            ค่าจ้างสุดท้าย 300 วัน แต่เมื่อมีการแก้ไขมีการปรับ
                                                            เพิ่มเป็นค่าจ้างอัตราสุดท้าย 400 วัน แน่นอนย่อม
                                                            มีผลกระทบต่อนายจ้างที่ต้องจ่ายค่าชดเชยให้แก่

                                                            ลูกจ้างมากขึ้น แต่ลูกจ้างที่ท�างานมานานก็มีสิทธิ
                                                            ได้รับค่าชดเชยมากขึ้น
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17