Page 21 -
P. 21
21
Focus Interview
ทนายชูเกียรติ เกตุชู
ที่ปรึกษำกฎหมำยแรงงำน วิทยำกร และทนำยควำมด้ำนคดีแรงงำน
กฎหมำยนี้ไม่ได้ท�าให้ลูกจ้างได้เปรียบนายจ้างแต่อย่ำงใด
หำกแต่เป็นการคุ้มครองการละเมิดสิทธิ์
ในข้อมูลส่วนบุคคลของลูกจ้ำงย่อมกระท�ำไม่ได้หรือยำกยิ่งขึ้น
เป็นที่รับทราบกันว่าพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 อิเล็กทรอนิกส์ตาม พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วน
จะเริ่มบังคับใช้จริงในวันที่ 27 พฤษภาคม 2563 แม้จะประกาศล่วงหน้า บุคคล พ.ศ. 2562 มาตรา 19
มาเกือบปี แต่หลายองค์กรยังมีความกังวลในเรื่องนี้ไม่น้อยว่าสิ่งที่ท�าอยู่
ถูกต้องหรือไม่ แล้วเรื่องการสืบประวัติอาชญากรรมก่อน
รับเข้าท�างานต้องขออนุญาตไหม
เรื่องนี้ทีมงาน HR Corner ก็ไม่นิ่งนอนใจ อาสาพาเพื่อน ๆ ไปพูดคุย
กับทนายความผู้เชี่ยวชาญด้านคดีแรงงาน “ทนายชูเกียรติ เกตุชู” เมื่อกล่าวถึงข้อมูลส่วนบุคคลแล้วตาม
เพื่อทราบแนวทางที่ถูกต้องกันครับ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 ได้
แยกไว้ชัดเจนว่าหากเป็นข้อมูลส่วนบุคคลทั่วไป
หากลูกจ้างปฏิเสธการให้ข้อมูล เช่น การตรวจสอบประวัติ การขอความยินยอมต้องปฏิบัติตามมาตรา 19
ผลการตรวจสุขภาพ หรือประวัติการท�างานที่ผ่านมาต้องท�า ให้ครบถ้วน แต่หากปรากฏว่าเป็นข้อมูลอ่อนไหว
อย่างไร กล่าวคือ เป็นข้อมูลที่หากถูกเปิดเผยแล้วจะมีผล
ต่อตัวเจ้าของข้อมูลถึงขนาดที่อาจถูกปฏิเสธจาก
กรณีตามค�าถามเข้าใจว่าน่าจะเป็นผู้สมัครงานเพื่อเข้าเป็นลูกจ้าง สังคมหรือถูกเลือกปฏิบัติแล้ว การขอความยินยอม
เนื่องจากข้อมูลตามค�าถามนั้นหากปฏิเสธมาแต่แรกย่อมไม่อาจเกิด จากเจ้าของข้อมูลนั้นต้องเป็นความยินยอมโดย
สัญญาจ้างขึ้น เพราะการตรวจสอบประวัติ ผลการตรวจสุขภาพ หรือ ชัดแจ้ง พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.
ประวัติการท�างานที่ผ่านมาย่อมถือได้ว่าเป็นสาระส�าคัญในการจ้างงาน
2562 มาตรา 26
อย่างไรก็ดีประวัติส่วนตัว, ผลการตรวจสุขภาพหรือแม้แต่ ประวัติอาชญากรรมถือเป็นข้อมูลอ่อนไหว
ประวัติการท�างานนั้น ถือได้ว่าเป็นข้อมูลส่วนบุคคลตาม พ.ร.บ. คุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 มาตรา 6 วางหลักไว้ว่า “ข้อมูลส่วนบุคคล” ตามมาตรา 26 ดังนั้นการขอความยินยอมนอกจาก
รูปแบบวิธีการขอความยินยอมตามมาตรา 19 แล้ว
หมายความว่าข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลซึ่งสามารถระบุตัวบุคคลนั้นได้ ไม่ว่า ต้องน�ามาตรา 26 มาประกอบในการขอความ
ทางตรงหรือทางอ้อม แต่ไม่รวมถึงข้อมูลของผู้ถึงแก่กรรมโดยเฉพาะ
ยินยอมด้วย กล่าวคือ ความยินยอมต้องเป็นความ
ดังนั้นการตรวจสอบประวัติผลการตรวจสุขภาพหรือประวัติการ ยินยอมโดยชัดแจ้งจากเจ้าของข้อมูล
ท�างานเป็นการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยโดยหลักแล้วต้องให้เจ้าของ
ข้อมูลส่วนบุคคลให้ความยินยอมเป็นหนังสือหรือท�าโดยผ่านระบบ