Page 24 -
P. 24
24 25
แต่ข้อสังเกตคือภำคเอกชนโดย
ส่วนใหญ่จะเกษียณอำยุที่ 55 ปี ท�ำให้
ช่วงอายุ 55-60 ปีไม่ครอบคลุม
ตั้งแต่มีการส่งเสริมการจ้างงานผู้สูงวัย ผลตอบรับ
เป็นอย่างไรบ้างครับ ขณะนี้มีนโยบายที่เพิ่งออกมาเรื่องค่าจ้างราย
ผลตอบรับดีขึ้นเพราะนโยบายหลายอย่าง ชั่วโมงของผู้สูงวัยของคณะกรรมการค่าจ้าง กระทรวง
เอื้ออ�านวย เช่น การลดหย่อนภาษีให้สถานประกอบการ แรงงาน เรื่องนี้ไม่ได้เป็นข้อบังคับแต่เป็นข้อแนะน�า
เมื่อจ้างผู้สูงวัย แต่มีข้อก�าหนดว่าต้องอายุ 60 ปีขึ้นไป ส�าหรับการจ้าง หากจ้างผู้สูงอายุท�างานไม่เกินวันละ
โดยลดหย่อนภาษีส�าหรับเงินเดือนที่ไม่เกิน 15,000 บาท 7 ชั่วโมง ชั่วโมงหนึ่งควรจ่ายค่าจ้างอัตราอยู่ที่ 45 บาท
และจ�านวนต้องไม่เกินร้อยละ 10 ของแรงงานทั้งหมด ทั่วประเทศ ซึ่งขณะนี้ค่าจ้างขั้นต�่าเฉลี่ยอยู่ที่ 300-330 บาท
รวมถึงต้องไม่เป็นผู้บริหารหรือเป็นกรรมการต่าง ๆ ของ ต่อวันตามพื้นที่ เมื่อหารด้วย 8 ก็อยู่ที่ประมาณ 37.5-
กิจการ แต่ข้อสังเกตคือภาคเอกชนโดยส่วนใหญ่จะ 41.25 บาท การจ้างพนักงานในวัยปกติมาท�างานหนึ่งวัน
เกษียณอายุที่ 55 ปี ท�าให้ช่วงอายุ 55-60 ปีไม่ครอบคลุม ก็ต้องจ่ายมากกว่า 300 บาทแล้ว แม้จะจ้างชั่วโมงเดียว
ก็ต้องเขียนสัญญา 300 บาท เพราะกฎหมายค่าจ้างขั้นต�่า
เรื่องลดหย่อนภาษีได้ไม่เกิน 15,000 บาท ก็ติด เขียนไว้อย่างชัดเจนว่าวันละ 300-330 บาทขึ้นกับพื้นที่
ตรงที่ผู้สูงวัยบางส่วนเงินเดือนอาจเกินไปแล้ว รวมถึง ไม่ได้ทอนเป็นชั่วโมง
คนกลุ่มนี้ต้องไม่เป็นผู้ถือหุ้นหรือกรรมการบริษัท หาก
มองข้อก�าหนดก็เข้าใจได้ว่าจุดประสงค์ต้องการส่ง กรณีผู้สูงวัยสามารถทอนเป็นชั่วโมงได้ส�าหรับ
สัญญาณให้สถานประกอบการจ้างงานคนระดับฐานราก การจ้างแบบนี้ เช่น หากเราเป็นร้านค้าที่ตั้งหน้าโรงเรียน
ที่เป็นกลุ่มผู้ปฏิบัติงานจริง ๆ เราก็พอรู้ว่าช่วงที่นักเรียนเข้ามาซื้อของเยอะจะเป็น
ช่วงเวลาบ่ายถึงเกือบเย็น เราอาจจ้างสัก 3 ชั่วโมงให้มา
ท�างานช่วงนั้นได้
กำรจ้ำงพนักงานในวัยปกติมำท�ำงำนหนึ่งวัน
ก็ต้องจ่ำยมำกกว่ำ 300 บำทแล้ว แม้จะจ้ำงชั่วโมงเดียว
ก็ต้องเขียนสัญญา 300 บาท