Page 20 -
P. 20

20                                                                                                                                                                                                                              21

               เรื่อง KM และอัตราก�าลัง



          ในภำครัฐเริ่มพบมำกขึ้น  หลำย


          กระทรวงหลังจำกมีมำตรกำรไม่รับ


          คนมำนำน  เริ่มพบปัญหำควำม


          แตกต่ำงของช่วงอำยุ








          สังคมสูงวัยเริ่มส่งผลกระทบชัดเจนด้านอะไร
          บ้างครับ

                เรื่องแรกคือ ภาครัฐต้องใช้งบประมาณ

          เพิ่มขึ้น เราต้องจ่ายเบี้ยยังชีพเพิ่มขึ้น
                                                             เรื่องที่ 4 คือ อัตราภาระพึ่งพิง สมัยก่อนเรื่องภาระพึ่งพิง
                เรื่องที่สองคือ  เราขาดแคลนแรงงาน      จะเป็นของเด็กเสียเยอะ แต่ตอนนี้ภาระพึ่งพิงของผู้สูงวัยเพิ่มขึ้น

          ผู้ประกอบการเริ่มหาแรงงานอื่นมาทดแทนหรือใช้  หากมองในแง่ตัวเงินนั้น ต้องเคลียร์ให้ชัดก่อนว่าการจ่ายเงินให้เด็ก
          เครื่องจักร หมายความว่าแรงงานผู้สูงอายุอาจไม่ได้  กับจ่ายให้ผู้สูงวัยต่างกันอย่างไร

          อยู่ในองค์กรเดิม เพราะคนที่ท�างานมานาน ค่าจ้าง
          สูง องค์กรมีทางเลือกในการทดแทน เรื่อง KM และ       เนื่องจากเด็กไม่สามารถลงทุนหรือกู้ยืมอะไรได้ ดังนั้นภาครัฐ
          อัตราก�าลังในภาครัฐเริ่มพบมากขึ้น หลายกระทรวง  จึงพึ่งพิงเรื่องนี้กับครอบครัวของเด็ก ในขณะที่ผู้สูงวัยสามารถดูแล

          หลังจากมีมาตรการไม่รับคนมานาน เริ่มพบปัญหา   ในส่วนนี้ได้จากการเก็บออมในวัยท�างาน สุดท้ายแล้วหากเทียบ
          ความแตกต่างของช่วงอายุ คนที่จะขึ้นระดับเป็น   เรื่องภาระพึ่งพิง เด็กอาจจะมีมูลค่าที่สูงกว่าผู้สูงวัย ในขณะที่เด็ก
          ผู้อ�านวยการกองอายุน้อยลง                    ยังเติบโตไปเรื่อย ๆ ส่วนทางด้านผู้สูงวัยจะลดลง


                ซึ่งอายุที่น้อยก็สัมพันธ์กับประสบการณ์และ    แต่เนื่องด้วยลักณษะของครอบครัวและสังคมไทยปัญหา
          องค์ความรู้ที่น้อยด้วย เราต้องยอมรับว่าหน่วยงาน   เรื่องภาวะพึ่งพิงจะค่อนข้างไม่กระโดดมาก พ่อแม่มักจะลงทุนกับ

          ราชการมีการจัดการองค์ความรู้ไม่ต่อเนื่อง     ลูกอย่างเต็มที่ ภาระการพึ่งพิงในวัยเด็กจึงได้จากครอบครัวและรัฐ
          เท่าที่ควร อีกทั้งมีการโยกย้ายบ่อย ท�าให้ความรู้ไม่ได้   มีมาตรการที่ชัดเจนในด้านการสนับสนุนทางการศึกษา ในขณะที่
          ติดอยู่กับองค์กร แต่ติดไปกับตัวคนมากกว่า จึงอาจ  ผู้สูงอายุอาจต้องพึ่งตนเองมากขึ้น ซึ่งความสามารถในการพึ่งตนเอง

          ท�าให้การพัฒนาองค์กรขาดช่วง                  ก็มาจากการออม การลงทุน และเงินสมทบในกองทุนในยามที่ยังมี
                                                       ความสามารถ แต่โจทย์ตอนนี้คือเศรษฐกิจเริ่มชะลอตัว ลูกหลาน
                เรื่องที่ 3 คือ ปัญหาการเติบโตของเศรษฐกิจ   เองอาจยังเอาตัวไม่รอด การเกื้อกูลจะเริ่มลดลง สัดส่วนผู้สูงวัยที่
          จะพบว่าอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจจะลดลง       ท�างานจะเพิ่มมากขึ้น การจ่ายเบี้ยยังชีพของภาครัฐเพิ่มขึ้นทุกปี

          เนื่องจากผู้สูงวัยไม่ได้ท�างานจึงไม่ต้องจ่ายภาษี    จากการที่มีจ�านวนผู้สูงอายุมากขึ้น ตอนนี้ปีหนึ่งอยู่ที่ประมาณ
          อีกทั้งมีการใช้สวัสดิการภาครัฐ รวมถึงนโยบาย  60,000-70,000 ล้านบาท และจะเพิ่มมากกว่านี้จากจ�านวนผู้สูงอายุ

          กระตุ้นเศรษฐกิจทั้งหลายจึงมักใช้ไม่ได้ผลกับ   ที่เพิ่มขึ้นทุกปี ท�าให้ภาครัฐเองต้องคิดถึงระบบความยั่งยืนทาง
          ผู้สูงวัย แต่ในขณะเดียวกันอาจเกิดธุรกิจใหม่ ๆ เช่น   การเงินการคลังในการช่วยเหลือในรูปแบบนี้
          การดูแลผู้สูงวัย ผลิตภัณฑ์ดูแลด้านสุขภาพ เป็นต้น
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25