Page 18 -
P. 18
18 19
กลับมาที่เรื่องผู้สูงวัย อยากทราบว่าผู้สูงวัยแบ่งออกเป็น
กี่ประเภท เห็นมีหลายสื่อออกมาว่า Skill กับ Non-skill
ครับ
แบบนี้ต้องถามกลับว่า Skill กับ Non-skill เราใช้เกณฑ์
อะไรมาวัดว่าคนนี้มีหรือไม่มีทักษะ เวลาพูดถึงคนมีทักษะคือ
ทักษะด้านไหน ท้ายสุดการแบ่งลักษณะนี้จะไปจบที่การแบ่งด้วย
ระดับการศึกษา ถ้าหากจะให้คนสูงวัยที่จบด็อกเตอร์ไปท�าอาหาร
ขาย แล้วเขาท�าไม่ได้ ถือว่าเขาเป็นผู้สูงวัยไม่มีทักษะหรือไม่
การแบ่งโดยใช้การศึกษาเป็นเกณฑ์จึงท�าให้ผู้สูงวัยบ้านเราจัดอยู่
ในประเภท Non-skill ค่อนข้างเยอะ
กลุ่มผู้สูงวัยที่เป็นแรงงานอิสระ คนกลุ่มนี้
ไม่มีหลักประกันอะไรนอกจำกบัตรทองสุขภำพ
ที่ภำครัฐมอบให้
กลุ่มผู้สูงวัยที่ผ่านการท�างานระบบเอกชน กลุ่มนี้
จะได้สิทธิจากเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุเดือนละ 600 บาท
และสิทธิประโยชน์ชราภาพจากประกันสังคม บัตรทอง
ในการรักษาพยาบาล ฉะนั้นคนกลุ่มนี้จะได้ความ
คุ้มครองรองลงมา หากเขาท�างานในองค์กรที่มีกองทุน
แล้วอาจารย์แบ่งผู้สูงวัยอย่างไรครับ ส�ารองเลี้ยงชีพก็จะได้มากกว่านั้น
ผมอยากจะแนะน�าให้แบ่งจากแหล่งที่มาของรายได้หลัง แต่กลุ่มนี้อาจจะมีบางคนที่ติดหล่มเนื่องจากมี
เกษียณกับสถานภาพการท�างานมาก่อน เช่น กลุ่มผู้สูงวัยที่เป็น รายได้น้อย และเงินบ�านาญในกลุ่มนี้ก็ไม่ได้มากมาย
ข้าราชการบ�านาญ กลุ่มผู้สูงวัยที่เป็นลูกจ้างเอกชนซึ่งผ่านระบบ เช่น หากผมท�างานมา 35 ปี ส่งเงินสมทบประกันสังคม
ประกันสังคม และกลุ่มผู้สูงวัยที่เป็นแรงงานอิสระ (แรงงานนอก มา 420 งวด เกษียณไปแล้วได้เท่าไหร่ ตอบว่ามากที่สุด
ระบบ) ความแตกต่างของ 3 กลุ่มนี้คือ ก็เดือนละ 7,500 บาท ซึ่งแน่นอนว่าไม่พอ เนื่องจาก
ฐานประกันสังคมของเราไปล็อกที่ 15,000 บาท
กลุ่มข้าราชการได้เงินบ�านาญหลังจากเกษียณประมาณ
70% ของรายได้เดิม กลุ่มนี้ความเป็นอยู่จะค่อนข้างดีกว่ากลุ่มอื่น ๆ กลุ่มผู้สูงวัยที่เป็นแรงงานอิสระ คนกลุ่มนี้ไม่มี
เพราะได้เงินบ�านาญจากภาครัฐ ได้สิทธิรักษาพยาบาลควบรวม หลักประกันอะไรนอกจากบัตรทองสุขภาพที่ภาครัฐ
ไปถึงคู่สมรส บิดามารดา และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ แต่กลุ่มนี้ มอบให้ คนกลุ่มนี้จะได้เบี้ยยังชีพ 600 บาทเท่านั้น นี่คือ
จะไม่ได้เบี้ยผู้สูงอายุเนื่องจากได้รับเงินบ�านาญจากภาครัฐแล้ว ความแตกต่างที่เห็นได้ชัด
ตามหลักการครอบคลุมแต่ไม่ซ�้าซ้อน ส่วนนี้เป็นความคุ้มครองพื้นฐานที่ได้จากรัฐและ
จากกองทุนที่เกิดขึ้นจากสถานภาพการท�างานและการ
ส่งเงินสมทบซึ่งไม่รวมการเกื้อกูลผ่านระบบครอบครัว
และเงินออมเงินลงทุนที่มีการสะสมกันมาเอง