Page 12 -
P. 12
12 13
การถ่ายโอนความรู้จาก Tacit
Knowledge ของพนักงาน BB ขอแชร์ประสบการณ์ที่เคยเป็นที่ปรึกษาในเรื่อง KM ให้กับ
ไปยัง Explicit Knowledge หน่วยงานราชการเพื่อถอดบทเรียนจากบุคลากรที่เกษียณอายุไปแล้ว
มาเล่าตรงนี้ค่ะ
การสกัดความรู้ที่เป็น Tacit Knowledge
ของพนักงาน BB ให้เป็นความรู้ที่จับต้องได้ผ่าน โครงการเริ่มจาก HR เชิญข้าราชการที่เกษียณอายุไปแล้วหรือ
เอกสาร คู่มือ รายงาน คลิปเสียง หรือภาพถ่าย ก�าลังจะเกษียณมาให้ข้อมูลโดยเน้นประสบการณ์ของตัวเองผ่าน
ที่เรียกว่า Explicit Knowledge หรือความรู้ กระบวนการเล่าเรื่อง (Story Telling) ทีม HR จะท�าหน้าที่บันทึกข้อมูล
ภายนอกนั้นเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่จะท�าให้ ความรู้และประสบการณ์ของคนกลุ่มนี้มาจัดท�าเป็นองค์ความรู้ที่จับต้อง
องค์ความรู้ของพนักงาน BB อยู่กับองค์การ ได้ (Explicit Knowledge) เป็นคู่มือหรือเป็นคลิปวิดีโอ เพื่อให้บุคลากร
ตลอดไป โดยการท�า Story Telling ซึ่งพนักงาน รุ่นต่อไปเข้าถึงความรู้นั้นได้ง่ายและไว
กลุ่ม BB จะต้องรู้และเข้าใจถึงแนวทางและ กำรสื่อสำรแบบเข้ำถึง: พนักงานกลุ่ม BB ต้องการให้สื่อสาร
วิธีการถอดบทเรียนผ่านเรื่องเล่า ทั้งนี้ HR แบบเข้าพบโดยตรงเพื่อชี้แจงแนวทางในการท�า KM ให้เข้าใจตรงกัน
ควรจัดอบรมวิธีการเล่าเรื่องเพื่อถอดหรือสกัด การสื่อสารแบบนี้ถือว่าเป็นการให้เกียรติให้การเคารพ มองเห็นคุณค่าใน
องค์ความรู้และประสบการณ์ของพนักงานกลุ่ม ตัวของพวกเขา เมื่อมองเห็นประโยชน์ของการท�า KM แล้วพวกเขาก็จะ
BB ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
พร้อมที่ให้ความร่วมมือในการสกัดความรู้ให้กับบุคลากรรุ่นน้องต่อไป
กำรสร้ำงควำมมั่นใจ: ทีม HR ต้องท�าให้พนักงานกลุ่ม BB รู้สึก
ต้องท�าให้พนักงาน มั่นใจและสบายใจที่จะถ่ายทอดความรู้ของตัวเองออกมา ไม่ว่าจะเป็นใน
รูปแบบ Implicit Knowledge หรือ Explicit Knowledge เพราะในการ
กลุ่ม BB มีความมั่นใจ สกัดความรู้ไม่ใช่เรื่องง่าย ตัวพนักงานเองอาจมีความรู้และประสบการณ์
ในฟังก์ชันงานที่ตนรับผิดชอบ แต่ไม่มีความรู้ในการโค้ช การเป็นพี่เลี้ยง
และรู้สึกสบายใจ หรือการสอน OJT ให้กับพนักงานรุ่นน้อง ดังนั้น ทีม HR จึงต้องอบรมให้
ในการถ่ายโอน พนักงานที่จะถ่ายโอนความรู้มีความมั่นใจและทักษะที่จะท�างานนั้นได้ดี
สรุปว่าพนักงานกลุ่ม BB จะเป็นคนอีกกลุ่มที่เป็นผู้สูงวัยที่ก�าลัง
ความรู้ของตนเอง เกษียณอายุ ซึ่งพนักงานกลุ่มนี้มีองค์ความรู้และประสบการณ์ที่มีการ
สั่งสมความเชี่ยวชาญมาเป็นเวลานาน การบริหารจัดการความรู้ของคน
กลุ่มนี้จึงเป็นเรื่องจ�าเป็นมากที่องค์การควรตระหนักถึงความส�าคัญและ
หาวิธีการสะกัดความรู้ของคนกลุ่มนี้ในรูปแบบของ Tacit และ Explicit
Knowledge โดยมุ่งหวังว่าความรู้ของพนักงานกลุ่ม BB ยังคงอยู่ต่อไป
เพื่อให้พนักงานรุ่นหลังเรียนรู้และน�าความรู้นั้นมาใช้ประโยชน์ให้เกิด
ประสิทธิภาพในการท�างานต่อไปเพื่อท�าให้องค์การเติบโตและสร้างความ
ยั่งยืนให้กับองค์การต่อไปในอนาคต