Page 35 -
P. 35
34 35
แต่เราก็คงมีค�าถามต่อไปได้อีกหลายประการ
ว่าเรื่องอย่างนี้จะฟ้องกันได้โดยอิงจากกฎหมายใด
มาตราไหน แล้วถ้าได้รับมรดกจริง แต่ได้รับกันไปเป็น
จ�านวนไม่มากขนาดจะรวมกันแล้วเป็นจ�านวนเงิน “ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1745
นับล้านตามที่ต้องชดใช้ล่ะ การตัดสินจะเป็นอย่างไร บัญญัติให้ทายาทมีสิทธิและหน้าที่เกี่ยวกับทรัพย์มรดกร่วม
กันจนกว่าจะได้แบ่งมรดกกันแล้วเสร็จ ดังนั้นเมื่อลูกหนี้ตาย
ผมขอเล่าและขอน�าข้อความบางตอนใน
ค�าตัดสินเพื่อเป็นการตอบค�าถามข้างต้นดังนี้ครับ ความรับผิดของลูกหนี้ย่อมตกแก่ทายาท ทายาททุกคนต้องร่วมกัน
รับผิดอย่างลูกหนี้ร่วมแต่ไม่เกินทรัพย์มรดกที่ตกทอดได้แก่ตน
ศาลได้วินิจฉัยแล้วว่าทั้งภรรยา พ่อและแม่ และเจ้าหนี้กองมรดกจะบังคับสิทธิเรียกร้องต่อทายาทคนใดก็ได้
ของพนักงานที่เสียชีวิตนั้น “เป็นทายาทผู้มีสิทธิรับ ตามมาตรา 1737”
มรดกของนาย (พนักงานผู้เสียชีวิต) ตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรรา 1629 จึงต้องร่วม จากค�าวินิจฉัยของศาลที่น�าเอามาประกอบค�าอธิบาย
รับผิดช�าระหนี้ของ (พนักงานผู้ตาย) ที่มีต่อโจทก์ตาม ก็ตอบค�าถามได้ชัดเจนแล้วนะครับว่า ถ้าเป็นผู้รับมรดกจาก
มาตรา 1600 แต่ทั้งนี้ไม่เกินกว่าทรัพย์มรดกที่ตกทอด พนักงานก็ต้องรับผิดในหนี้ที่มีด้วย แต่ก็ไม่เกินกว่ามรดกที่ได้รับ
ได้แก่ตนตามมาตรา 1601” อย่างไรก็ดี เรื่องราวของคดีก็ยังไม่ได้จบลงแค่ที่ว่า เพราะ
ปรากฏว่าคดีนี้ศาลตัดสินให้เฉพาะผู้ค�้าประกันเท่านั้นที่ต้องชดใช้
และอีกตอนหนึ่งของค�าวินิจฉัยของศาลยังมีว่า
หนี้ไปตามส่วนของผู้ค�้าประกันเท่านั้น ส่วนภรรยา พ่อและแม่
ศาลท่านยกฟ้อง เนื่องจากนายจ้างฟ้องคดีในเวลาที่เกินกว่า 1 ปี
หลังจากพนักงานเสียชีวิต ท�าให้คดีขาดอายุความตามมาตรา
1755
แม้จะจบลงสั้น ๆ เพียงเท่านี้ แต่เป็นฎีกาที่น่าศึกษาไว้อีก
ฎีกาหนึ่งส�าหรับทุกท่านครับ