Page 9 -
P. 9
9
การเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล
มีหลักปฏิบัติอย่างไร
ตอบแบบย่อ ๆ พอเข้าใจนะครับ หลักการคือ
1. การขอความยินยอม ต้องมีความชัดเจน ไม่เป็นการ
หลอกลวง หรือท�าให้เจ้าของข้อมูลเข้าใจผิด จะน�าไปเขียน
ข้อความขอความยินยอมแทรกในสัญญารวมกับข้อความ
อื่น ๆ เกลื่อนกลืนรวม ๆ ไปไม่ได้ ต้องแยกออกมาให้
เด่นชัด 2. การขอความยินยอมต้องท�าเป็นหนังสือหรือ
ท�าโดยผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ เว้นแต่โดยสภาพไม่อาจ
ขอความยินยอมด้วยวิธีดังกล่าวได้ 3. การถอนความ
ยินยอม เจ้าของข้อมูลถอนความยินยอมที่เคยให้ไว้
เมื่อใดก็ได้โดยง่าย เว้นแต่มีข้อจ�ากัดตามที่กฎหมาย
ก�าหนด
ข้อมูลบริษัท นิติบุคคล ใช้ พ.ร.บ.คุ้มครองส่วนบุคคล
พ.ศ. 2562 นี้หรือไม่
กำรขอควำมยินยอมต้อง
ตามที่กฎหมายฉบับนี้ก�าหนดค�านิยามไว้ชัดเจนว่า
“บุคคล” หมายความว่า บุคคลธรรมดา มีควำมชัดเจน ไม่เป็นกำร
ดังนั้นข้อมูลนิติบุคคลจึงไม่ได้อยู่ในขอบข่ายที่ต้องปฏิบัติ หลอกลวง หรือท�ำให้
ตามกฎหมายนี้ ตัวอย่างที่ไม่เป็นข้อมูลส่วนบุคคล ตามกฎหมาย
ฉบับนี้ ได้แก่ ข้อมูลส�าหรับการติดต่อทางธุรกิจที่ไม่ได้ระบุถึง เจ้ำของข้อมูลเข้ำใจผิด
ตัวบุคคล เช่น ที่อยู่บริษัท, แผนที่ทางไปที่ตั้งบริษัท, หมายเลข
โทรศัพท์ของบริษัท, โทรสารของบริษัท, อีเมลของบริษัท,
เลขทะเบียนบริษัท
ดังนั้นเรื่องข้อมูลส่วนบุคคล ถ้ากล่าวถึงนายจ้าง
ในกรณีที่องค์กรใดหรือบุคคลใดท�าสัญญาทางธุรกิจกับ ซึ่งเป็นผู้เก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลของลูกจ้าง นายจ้าง
นิติบุคคล องค์กร หรือบุคคลนั้น มีหน้าที่ปฏิบัติตามพันธะของ ต้องมีมาตรการในการเก็บรวบรวมในที่ที่ปลอดภัย ถ้าเป็น
สัญญาที่ท�ากันไว้ จะมีข้อก�าหนด ข้อห้าม หรือเงื่อนไข ห้ามมิให้ เอกสารก็ต้องเก็บใส่ในตู้นิรภัยมีกุญแจล็อกปิด มอบหมาย
ปฏิบัติ หรือต้องปฏิบัติอย่างไร ก็เป็นไปตามสัญญานั้น หากมี ให้บุคคลหนึ่ง ดูแลไม่ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องมาเปิดดูหรือ
การล่วงละเมิดหรือผิดสัญญาต่อกัน ก็ว่ากันไปตามสัญญานั้น เอาไปใช้ เปิดเผย หรือถ้าเก็บไว้ในระบบคอมพิวเตอร์
หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ไม่อยู่ในข่ายที่ถูกบังคับให้ปฏิบัติตาม ก็ต้องมีก�าหนดรหัสเฉพาะบุคคลที่มีหน้าที่เข้าถึงได้เท่านั้น
พ.ร.บ.คุ้มรองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 บุคคลอื่นที่เจ้าของข้อมูลไม่อนุญาตจะเข้าถึงข้อมูล
แต่สิ่งที่ควรต้องทราบไว้คือ หากองค์กรหรือบุคคลใด ส่วนบุคคลนั้นไม่ได้เป็นอันขาด
ท�าสัญญาทางธุรกิจกับนิติบุคคล แม้ข้อมูลนิติบุคคลไม่ใช่ข้อมูล
ส่วนบุคคลตามความหมายกฎหมายฉบับนี้ แต่ข้อมูลที่ระบุถึง
ตัวบุคคล เช่น บัตรประจ�าตัวประชาชนของกรรมการบริษัท
เป็นต้น เป็นข้อมูลส่วนบุคคลที่องค์กรหรือคู่สัญญาต้องปฏิบัติ
ตามพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 นี้เช่นกัน